ผู้เขียน หัวข้อ: โควิด 27: โควิด-19 อันตรายหรือไม่ ควรป้องกันอย่างไร?  (อ่าน 135 ครั้ง)

siritidaphon

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 305
    • ดูรายละเอียด
ประเทศไทยประกาศให้โควิด-19 เป็นโรคประจำถิ่น แต่สถานการณ์การระบาดยังไม่ได้หายไป ตั้งแต่ช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน 2566 ข้อมูลที่รายงานในระบบพบว่ายอดผู้ป่วยที่รักษาตัวในโรงพยาบาลมีแนวโน้มเพิ่มสูงมากขึ้น ต่อเนื่องมาจนถึงต้นปี 2567 ยังคงมีอัตราการติดเชื้อที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ในปัจจุบัน อาจมีผลมาจากการเดินทางท่องเที่ยว การเฉลิมฉลองในช่วงปีใหม่ การลดความระมัดระวังของประชาชนที่มองว่าตอนนี้โควิด-19 ได้ผ่านพ้นการระบาดครั้งใหญ่ไปแล้ว และเป็นแค่โรคประจำถิ่น ซึ่งสอดคล้องกับในหลาย ๆ ประเทศใกล้เคียง ที่มีจำนวนผู้ป่วยโควิด-19 เพิ่มสูงขึ้น เช่น ประเทศมาเลเซีย และประเทศสิงคโปร์ ที่มีจำนวนผู้ป่วยโควิด-19 ในเดือนธันวาคมเพิ่มขึ้น 75%

โดยข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกพบว่าตั้งแต่ช่วง พ.ย.-ธ.ค. 2566 การติดเชื้อรายใหม่ และภาพรวมของผู้ป่วยโควิด-19 ทั่วโลกมีจำนวนเพิ่มขึ้น 52% และมีการประกาศให้เฝ้าระวัง omicron JN.1 เพราะพบการระบาดของสายพันธุ์นี้เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน นอกจากนี้ยังพบเชื้อ JN.1 ปนเปื้อนในแหล่งน้ำเสียเพิ่มสูงมากขึ้น เมื่อเทียบกับช่วงก่อนหน้านี้ บ่งชี้ว่าอาจจะมีการแพร่ระบาดของโควิด-19 ตามแหล่งน้ำร่วมด้วย นอกเหนือจากการติดจากสารคัดหลั่ง ซึ่งเป็นปัจจัยเสริมที่ทำให้การระบาดเพิ่มมากขึ้น

 

สำหรับประเทศไทยยังไม่มีข้อมูลที่แน่ชัดว่าจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่ช่วง พ.ย. 66 ต่อเนื่องมาต้นปี 67 เป็นสายพันธุ์ JN.1 หรือไม่ เนื่องจากข้อมูลล่าสุดช่วง ธ.ค. 66 สายพันธุ์ที่ระบาดมากที่สุดคือ XBB แต่มีแนวโน้มที่ JN.1 จะกลายมาเป็นสายพันธุ์หลักที่ระบาดในประเทศไทย


โควิด 27: โควิด-19 อันตรายหรือไม่ ควรป้องกันอย่างไร? อ่านบทความเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่ https://doctorathome.com/covid-19

 

โพสต์ฟรี ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี google ลงประกาศขายบ้าน ขายที่ดิน ขายคอนโด ประกาศฟรี ขายฟรี ขายรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อาหารเสริม เครื่องสำอางค์ สถานที่ท่องเที่ยว เว็บประกาศฟรี ติดอันดับ Google